ขอต้อนรับเข้าสู่รายวิชา
การสร้างเว็บไซต์
รหัสวิชา ว 23215 ระดับชั้น ม. 3
การสร้างเว็บไซต์
รหัสวิชา ว 23215 ระดับชั้น ม. 3
ผู้เรียนสามารถดูประมวลรายวิชา และโครงสร้างเนื้อหาได้จากส่วนล่าง
วิธีการเรียน
นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการคลิกปุ่ม รายวิชา เพื่อดูสื่อ VDO เอกสาร และทำแบบทดสอบ/แบบฝึกหัด
เกณฑ์การวัดผล
1) ผู้เรียนเข้าเรียนเนื้อหาครบทุก Unit
2) แบบตรวจสอบตนเอง (Checklist)
3) แบบฝึกหัดหลังชั่วโมงเรียนรู้
4) แบบทดสอบหลังเรียน
การประกาศคะแนนเก็บ
หลังจากที่ท่านเรียนครบทุกบทแล้ว คลิกที่แถบเมนู Course
หากคะแนนท่านผ่านเกณฑ์ 50% ขึ้นไปแล้ว จะมีผลการเรียนผ่านในแต่ละใบงาน
ช่องทางติดต่อทีมผู้สอน : wutthikrai@skburana.ac.th
รายวิชาการสร้างเว็บไซต์ ว23215 ระดับชั้น ม. 3 ภาคเรียนที่ 1/2564
หลักสูตร การพัฒนาเว็บไซต์ด้วย Google Sites
(Google Sites Development Course with Google Sites)
(Google Sites Development Course with Google Sites)
-- ทำความเข้าใจรายวิชาก่อนเรียน --
- การใช้งานอีเมล์โรงเรียน
- การสมัครใช้งานเว็บไซต์ CANVA
หน่วยที่ 1 รู้จัก Google Sites
หน่วยที่ 2 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์และการสร้างเว็บไซต์
หน่วยที่ 3 การจัดการหน้าเว็บไซต์และเมนูเว็บไซต์
หน่วยที่ 4 การแทรกเนื้อหาในหน้าเว็บไซต์
หน่วยที่ 5 การแทรกเนื้อหาจากแอปพลิเคชั่นของ Google
หน่วยที่ 6 การเผยแพร่เว็บไซต์
แบบทดสอบวัดผลประมวลผลความรู้
แบบสำรวจหลังเรียน
ภาระงาน (พัฒนาเว็บไซต์ด้วย Google Sites จำนวน 1 เว็บ)
ภาระงานที่ 1 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (ส่งใน Google Classroom) (10 คะแนน)
ภาระงานที่ 2 การออกแบบแบนเนอร์ด้วย CANVA (10 คะแนน)
ภาระงานที่ 3 การออกแบบปุ่มด้วย CANVA (10 คะแนน)
ภาระงานที่ 4 การแทรกเนื้อหาในเว็บไซต์ (รูปภาพ,วิดีโอ,แผนที่,ฯลฯ) (10 คะแนน)
ภาระงานที่ 5 โปรเจ็กเว็บไซต์โดยรวมข้อมูลจาก ภาระงานที่ 1 ถึง 4 (20 คะแนน)
สอบกลางภาค 20 คะแนน
สอบปลายภาค 20 คะแนน
ตกแต่งเว็บ ใส่ลูกเล่นเพิ่มเติม
1. การแทรกโค๊ด ตัวอักษรวิ่ง คลิกลิงก์
ตัวอย่างโค๊ดนำไปใช้งานได้เลย
<marquee bgcolor="#A9E0B8" direction="left" scrollamount="5" behavior = "alternate" >
<font color ="red" size = "5">
ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ของฉัน
</font>
</marquee>
2. การแทรกโค๊ด รูปภาพวิ่ง
<img src = "https://docs.google.com/uc?id=148cIJFx3XrKZ_CSv4R197LNbZp12fB1B" width = "50" height = "50"> <!-- ใส่ id ของรูปภาพ ที่นำมาจาก Google Drive -->
3. การแทรกโค๊ดภาพสั่น คลิก
ดาวน์โหลดภาพตัวอย่าง คลิก
<!DOCTYPE html>
<html>
<head>
<meta name="viewport" content="width=device-width, initial-scale=1">
<style>
img:hover {
animation: shake 0.5s;
animation-iteration-count: infinite;
}
@keyframes shake {
0% { transform: translate(1px, 1px) rotate(0deg); }
10% { transform: translate(-1px, -2px) rotate(-1deg); }
20% { transform: translate(-3px, 0px) rotate(1deg); }
30% { transform: translate(3px, 2px) rotate(0deg); }
40% { transform: translate(1px, -1px) rotate(1deg); }
50% { transform: translate(-1px, 2px) rotate(-1deg); }
60% { transform: translate(-3px, 1px) rotate(0deg); }
70% { transform: translate(3px, 1px) rotate(-1deg); }
80% { transform: translate(-1px, -1px) rotate(1deg); }
90% { transform: translate(1px, 2px) rotate(0deg); }
100% { transform: translate(1px, -2px) rotate(-1deg); }
}
</style>
</head>
<body>
<a href ="https://www.facebook.com/groups/2491891937740722" > <!-- ใส่ URL ของเว็บไซต์ปลายทาง -->
<img src="https://docs.google.com/uc?id=10q7ASAjEYMpJg69lebb-Wv6QfMpPa6Vm" width = "" height = "" alt="เข้าร่วมกลุ่ม" width="240" height="300"> <!-- ใส่ id ของรูปภาพ ที่นำมาจาก Google Drive -->
</a>
</body>
</html>
4. การแทรกโค๊ดภาพพลิก คลิก
<!DOCTYPE html>
<html>
<head>
<style>
<!--
A:link {text-decoration: none; Color: white}
A:visited {text-decoration: none; Color: white}
A:hover {text-decoration: none; font-weight: underline; Color: #black}
// -->
</style>
<meta name="viewport" content="width=device-width, initial-scale=1">
<style>
body {
font-family: Arial, Helvetica, sans-serif;
}
.flip-box {
background-color: transparent;
width: 300px;
height: 200px;
border: 1px solid #f1f1f1;
perspective: 1000px;
}
.flip-box-inner {
position: relative;
width: 100%;
height: 100%;
text-align: center;
transition: transform 0.8s;
transform-style: preserve-3d;
}
.flip-box:hover .flip-box-inner {
transform: rotateX(180deg);
}
.flip-box-front, .flip-box-back {
position: absolute;
width: 100%;
height: 100%;
-webkit-backface-visibility: hidden;
backface-visibility: hidden;
}
.flip-box-front {
background-image: url('https://docs.google.com/uc?id=1pqeRDciobXL_DnF8TeaiJa0_aXTXXmuB');
background-repeat: no-repeat;
background-color: #bbb;
color: white;
}
.flip-box-back {
background-color: #3300FF;
color: white;
transform: rotateX(180deg);
}
</style>
</head>
<body>
<center>
<h3>รหัสวิชา ว23215 การสร้างเว็บไซต์ ม.3</h3>
<!--<h4>Hover over the box below:</h4>-->
<div class="flip-box">
<div class="flip-box-inner">
<div class="flip-box-front"><br><br><br>
</div>
<div class="flip-box-back"><br><br><br>
<a href="https://kruwoot.skburana.ac.th/course/%E0%B8%A723215-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%8B%E0%B8%95-%E0%B8%A1-3-%E0%B8%9B-64"><H2>คลิกเข้าสู่บทเรียน</H2></a>
</div>
</div>
</div>
</center>
</body>
</html>
4. การแทรกโค๊ดภาพสั่น อัตโนมัติ
<!DOCTYPE html>
<html>
<head>
<meta name="viewport" content="width=device-width, initial-scale=1">
<style>
img:hover
{
animation: shake 0.5s;
animation-iteration-count: infinite;
}
@keyframes shake {
0% { transform: translate(1px, 1px) rotate(0deg); }
10% { transform: translate(-1px, -2px) rotate(-1deg); }
20% { transform: translate(-3px, 0px) rotate(1deg); }
30% { transform: translate(3px, 2px) rotate(0deg); }
40% { transform: translate(1px, -1px) rotate(1deg); }
50% { transform: translate(-1px, 2px) rotate(-1deg); }
60% { transform: translate(-3px, 1px) rotate(0deg); }
70% { transform: translate(3px, 1px) rotate(-1deg); }
80% { transform: translate(-1px, -1px) rotate(1deg); }
90% { transform: translate(1px, 2px) rotate(0deg); }
100% { transform: translate(1px, -2px) rotate(-1deg); }
}
</style>
</head>
<body>
<!-- ถ้าเอา :hover ออกจะเป็นการเล่นอัตโนมัติ -->
<p>Hover over the image:</p>
<img src="pineapple.jpg" alt="Pineapple" width="300" height="300">
</body>
</html>
ลิงก์เว็บไซต์ของนักเรียน ปีการศึกษา 2565
ลิงก์เว็บไซต์ของนักเรียน
คลิปวิดีโอทบทวนเนื้อหา
การสร้างเว็บไซต์เบื้องต้นด้วย google sites (ตอนที่1) 30/06/64
ลิงก์เรียนออนไลน์ 07/07/64
(ทบทวน การสร้างเว็บไซต์เบื้องต้นด้วย google sites ตอนที่2)
ลิงก์เรียนออนไลน์ 14/07/64
(ทบทวน การสร้างเว็บไซต์เบื้องต้นด้วย google sites ตอนที่3)
ลิงก์เรียนออนไลน์ 14/07/64
(ทบทวน การสร้างเว็บไซต์เบื้องต้นด้วย google sites ตอนที่ 4) การเพิ่มหน้าเว็บ การเผยแพร่เว็บและการส่งลิงก์เว็บไซต์
ตัวอย่างผลงานนักเรียนบางส่วน (บูรณาการร่วมกับรายวิชาสังคมศึกษา)
เด็กหญิงเปมิกา แก้วสายทับ
เด็กชายณัฐวุฒิ กระแจะจันทร์
ลิงก์เว็บไซต์ https://sites.google.com/skburana.ac.th/pamika-312
เด็กหญิงอวิกา ปานมีศรี
เด็กชายวิชญานนท์ ปานมีศรี
ลิงก์เว็บไซต์
https://sites.google.com/skburana.ac.th/dew8awika36-312
เด็กหญิงนิชา รุ่งเรือง
ลิงก์เว็บไซต์
https://sites.google.com/skburana.ac.th/nicha23312
เด็กหญิงชนิดา ต้นสำโรง
เด็กหญิงภาสินี จารุปราโมทย์
ลิงก์เว็บไซต์
https://sites.google.com/skburana.ac.th/m-a-y-312
เด็กหญิงกนกวรรณ ยิ้มทะโชติ
เด็กหญิงชลธิชา สุคนธ์น้อย
ลิงก์เว็บไซต์
https://sites.google.com/skburana.ac.th/kwang15andhunin
เด็กชายธรรมนูญ เหมาะสิงห์
ลิงก์เว็บไซต์
https://sites.google.com/skburana.ac.th/thammanoon3
File Slides
ในการเผยแพร่เว็บไซต์ นักเรียนต้องกำหนดการเผยแพร่ดังนี้
คลิกไอคอน รูปคน+
ช่อง ลิงก์
2.1 ฉบับร่าง เปลี่ยนเป็น จำกัด
2.2 ช่องเว็บไซต์ที่เผยแพร่ เปลี่ยนเป็น สาธารณะ
กดปุ่ม เสร็จสิ้น
คลิกที่ปุ่มเผยแพร่
คัดลอก ลิงก์ ไปวางที่หน้าเว็บไซต์ หรือส่งให้เพื่อนทดสอบเข้าไปดู หากเปิดได้
ให้นำลิงก์ส่งในแบบฟอร์มที่ครูกำหนดให้ เป็นอันเสร็จสิ้น